Indicators on ฟื้นฟูต้นโทรม You Should Know

หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา พันธกิจ ความเป็นมา สมาชิกหน่วยวิจัย แหล่งข้อมูล คำแนะนำ โครงการ ห้องสมุด แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การเผยแพร่ข้อมูล การเผยแพร่การศึกษา กิจกรรมสำหรับนักเรียน การอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมอาสาสมัคร กิจกรรมอาสาสมัครระยะยาว ทุนสนับสนุนงานวิจัยสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลักสูตรการฟื้นฟูป่า ผลงานวิชาการในงานประชุม เอกสารประกอบการสอน โครงการเผยแพร่ความรู้อื่นๆ โครงการผืนป่าบนกระดานดำ ติดต่อเรา

...ควรสำรวจแหล่งน้ำเพื่อการพิจารณาสร้างฝายขนาดเล็กปิดกั้นร่องน้ำในเขตต้นน้ำลำธารทั้งนี้เพื่อแผ่กระจายความชุ่มชื้นออกไปให้กว้างขวางอันจะช่วยฟื้นฟูสภาพป่าในบริเวณที่สูงให้สมบูรณ์ขึ้น บริเวณดังกล่าวจะได้กลายเป็น ภูเขาป่า ในอนาคตซึ่งหมายความว่ามีต้นไม้นานาชนิด ซึ่งปกคลุมดินในอัตราหนาแน่นที่เหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศแต่ละแห่ง ต้นไม้เหล่านั้นจะมีผลช่วยรักษาระดับความชุ่มชื้นในธรรมชาติให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะไม่แห้งแล้งเกินไป และยังช่วยยึดผิวดินอันมีค่าไม่ให้ถูกน้ำเซาะทลายลงมายังพื้นที่ราบอีกด้วย...

..การเก็บรักษาน้ำสำรองได้นานหลังจากฤดูฝนผ่านไปแล้ว จะทำให้มีปริมาณน้ำหล่เลี้ยงและประคับประคองกล้าไม้พันธุ์ที่แข็งแรงและโตเร็วที่ใช้ปลูกแซมในป่าแห้งแล้งอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง โดยการจ่ายน้ำออกไปรอบๆ ตัวฝายจนสามารถตั้งตัวได้...

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงคุณค่าอเนกอนันต์ของน้ำเป็นยิ่งนัก ทรงคำนึงว่าทุกสรรพสิ่งในสภาพแวดล้อมของมนุษย์นั้นจะเกื้อกูลซึ่งกันและกันได้ หากรู้จักนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ให้ได้ เฉกเช่นเดียวกับพระราชดำริ ป่าเปียก เพื่อป้องกันไฟไหม้ป่านั้น จึงเป็นมรรควิธีที่ทรงคิดค้นขึ้น จากหลักการที่แสนง่ายแต่ได้ประโยชน์มหาศาล กล่าวคือ ยามที่เกิดไฟไหม้ป่าขึ้นคราใดผู้คนส่วนใหญ่ก็มักคำนึงถึงการแก้ปัญหาด้วยการระดมสรรพกำลังกันดับไฟป่าให้มอดดับอย่างรวดเร็ว แต่แนวทางป้องกันไฟป่าระยะยาวนั้นยังดะเลือนลางในการวางระบบอย่างจริงจังพระราชดำริป่าเปียกจึงเป็นแนวพระราชดำริหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงแนะนำให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ทำการศึกษาทดลองจนได้รับผลสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ

ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็นหลักการดำเนินการ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริเกี่ยวกับการพิจารณาสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น เพื่อสร้างระบบวงจรน้ำแก่ป่าไม้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คือ

เลือกระบบนิเวศป่าไม้เป้าหมายที่อยู่ใกล้เคียงเป็นพื้นที่อ้างอิงและสำรวจพืชและสัตว์ป่าที่อยู่ภายในพื้นที่เพื่อช่วยกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ

บำรุงดอกในระยะกระดุมและระยะมะเขือพวง

....จะต้องพยายามสูบน้ำขึ้นไปทีละชั้นจนถึงระดับสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยพิจารณาใช้เครื่องสูบน้ำพลังงานธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์กับพลังงานลม ซึ่งมีใช้งานอยู่แล้ว ทั้งนี้เพื่อจะได้มิเปลืองเชื้อเพลิง เมื่อนำน้ำขึ้นไปพัก ณ ระดับสูงสุดได้แล้ว จะสามารถปล่อยน้ำให้ค่อยๆ ไหลซึมลงมา เพื่อช่วยเร่งรัดการปลูกป่าไม้ที่มีทั้งพันธุ์ไม้ป้องกันกับไม้โตเร็ว นอกจากนั้นจยังจะแปรสภาพโครงการภูเขาป่า ให้เป็นป่าเปียกซึ่งสามารถป้องกันไฟป่าได้อีกด้วย...

...จะต้องสร้างฝายเล็กเพื่อหนุนน้ำส่งไปตามเหมืองไปใช้ในพื้นที่เพาะปลูกทั้งสองด้าน ซึ่งจะให้น้ำค่อยๆ แผ่ขยายออกไปทำความชุ่มชื้นในบริเวณนั้นด้วย...

ป่าชายเลนหลายแห่งของประเทศไทยจึงบังเกิดขึ้นในลักษณะที่คืนสู่ธรรมชาติพิสุทธิ์อันสมบูรณ์ดังเดิม read more เช่น ป่าชายเลนที่อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ป่าชายเลนที่จังหวัดระนอง พังงา และสตูลรวมทั้งที่จังหวัดเพชรบุรีและสมุทรสงครามคงเป็นบทพิสูจน์ถึงน้ำพระราชหฤทัยที่ทรงสอดส่องในสิ่งแวดล้อมของพระมหากษัตริย์ไทยนักพัฒนาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์นี้

โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการฟื้นฟูป่าชายเลน อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วิธีการแรก: ทำระบบป้องกันไฟไหม้ป่า โดยใช้แนวคลองส่งน้ำและแนวพืชชนิดต่างๆ ปลูกตามแนวคลองนี้

กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *